วันเสาร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2553

moot and tone ของแบนเนอร์






moot and tone



กลุ่มเป้าหมาย


บุคคลทั่วไปอายุ 21-60ปีที่มีความชอบในการชมหมอลำ ผ่อนคลาย ชอบตลก
























-ผู่ที่รักความสนุก ตลก และชอบหมอลำเป้นชีวิตจิตใจ

ประวัติส่วนตัว

เกี่ยวกับฉัน
ชื่อนางสาวพัชริดา มีดินดำ ชื่อเล่น ปาล์ม เพื่อนๆชอบเรียก ปาล์มมี่ค่ะ อายุ 21 ปี เรียนที่มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต หรือ Rbac ค่ะ
นิสัยก็สนุกสนาน บ้าๆบอๆ วิชาที่ชอบก็คือ eng ค่ะ เออ ลืมบอก เรียนคณะนิเทศศาสตร์ เอกการประชาสัมพันธ์ค่ะ เป็นคนที่ไหนน่ะหรอ เป็นคนจังหวัดชัยภูมิค่ะ อิสานเด้อ อิอิ หนังหน้าน่ะหรอก็อย่างที่เห็นๆกันอยู่ค่ะ ขำๆนะ

บร้อก 7 ประเภท

ภาพล้อเลียน














ภาพขนาดใหญ่ปกติ






















ภาพสิ่งที่แตกต่างไม่เข้ากัน







ภาพอุปมาทางการมองเห็น




















ภาพเกินจริง

























ภาพสิ่งที่ผิดปกติ






















ภาพมุมกล้อง



เรกเชอร์ การสร้างแบนเนอรืเอาไว้ใช้งาน

เลค์เชอร์สร้างแบนเนอร์เอาไว้ใช้งานมาดูกันว่าหากต้องการสร้างแบนเนอร์ต้องทำอย่างไร ก่อนอื่นต้องเรียกใช้งานโปรแกรม Adobe ImageReady CS โดยการคลิ้กปุ่ม Start > All Programs > Adobe ImageReady CS แล้วทำดังนี้... 1. สร้างเอกสารใหม่ขึ้นมา โดยการคลิ้กเมนูคำสั่ง File > New?2. จะเห็นหน้าต่าง New Document แล้วไปคลิ้กเลือกรูปแบบเอกสารจากลิสต์บ็อกซ์ Size: โดยไปคลิ้กเลือกเลือกรูปแบบแบนเนอร์ที่โปรแกรมกำหนดมาให้แล้วตามต้องการ แล้วคลิ้กปุ่ม OKเลือกรูปแบบแบนเนอร์ตามต้องการ3. จะแสดงหน้าต่างเอกสารแบนเนอร์ว่างๆ ปรากฏขึ้นมา4. หากต้องการใส่รูปภาพประกอบลงบนแบ็กกราวดน์ลงไป ก็คลิ้กปุ่ม Edit in Photoshop เพื่อไปใส่รูปภาพผ่านโปรแกรม Adobe Photoshop CS หรือหากต้องการเทสีลงไปบนแบ็กกราวนด์ก็ไปคลิ้กเลือกสีที่ต้องการแล้วคลิ้กปุ่ม Paint Bucket Tool เพื่อเทสีไปจาก ImageReady CS ก็ได้5. หากเลือกไปใส่รูปภาพผ่านโปรแกรม Adobe Photoshop CS ก็จะแสดงหน้าต่างโปรแกรม Adobe Photoshop CS พร้อมเอกสารแบนเนอร์ว่างๆ6. การใส่รูปภาพก็ให้คลิ้กเปิดรูปภาพขึ้นมา โดยการคลิ้กเมนูคำสั่ง File > Open จะแสดงหน้าต่าง Open เพื่อให้คลิ้กเลือกรูปภาพที่ต้องการ แล้วคลิ้กปุ่ม Openใส่รูปภาพแบ็กกราวนด์พร้อมปรับแต่ง7. ใช้เครื่องมือ Move Tool ลากรูปภาพที่ต้องการ ไปวางลงบนแบนเนอร์ก็ให้ใส่รูปภาพที่ต้องการลงไป พร้อมปรับแต่งขนาด หรือคลวามเบลอตามต้องการ 8. แล้วคลิ้กปุ่ม Edit in ImageReady เพื่อกลับไปสร้างแบนเนอร์ต่อในโปรแกรม Adobe ImageReady CS9. จะกลับมายังหน้าต่างโปรแกรม Adobe ImageReady โดยจะแสดงรูปภาพแบ็กกราวนด์ซึ่งเป็นเฟรมแรก เราต้องการให้แสดงแบนเนอร์อย่างเดียว ให้คลิ้กเลือกรายการ Once10. มาเริ่มสร้างเฟรมถัดไปหากเราต้องการให้แสดงข้อความให้คลิ้กปุ่ม Duplicates current frame จะแสดงเฟรมแอนิเมชันหมายเลข 2 ขึ้นมา (หากไม่แสดงหน้าต่างเลเยอร์ ให้ไปคลิ้กเมนูคำสั่ง WindowAnimation) แทรกเฟรมใหม่ลงไปพร้อมพิมพ์ข้อความ11. จากนั้นคลิ้กปุ่มเครื่องมือ Type Tool แล้วพิมพ์ข้อความที่ต้องการลงไป12. ในเฟรมที่ 3 มาใส่รูปภาพลงไปกัน โดยการคลิ้กปุ่ม Duplicates current frame เพื่อก็อปเลเยอร์ก่อนหน้านี้13. ถ้าต้องการแทรกรูปภาพลงไปให้ไปที่หน้าต่างโปรแกรม Adobe Photoshop CS (ซึ่งตอนนี้เปิดค้างอยู่) หรือคลิ้กปุ่ม Edit in Photoshop ก็ได้ แล้วคลิ้กเมนูคำสั่ง File > Open14. จากนั้นจะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Open เพื่อให้คลิ้กเลือกรูปภาพ แล้วคลิ้กปุ่ม Open15. จะแสดงไฟล์รูปภาพที่ต้องการ แบนเนอร์มีความสูงขนาดประมาณ 340 พิกเซล ก็ให้ผู้ใช้งานตัดภาพโดยใช้เมาส์คลิ้กเลือกบริเวณที่ต้องการ แล้วคลิ้กเมนูคำสั่ง Image > Crop16. พร้อมปรับแต่งขนาดรูปภาพโดยคลิ้กเมนูคำสั่ง Image > Image Size?17. จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Image Size กำหนดค่าความสูง(Height) ต้องการแล้วคลิ้กปุ่ม OK18. แต่หากรูปภาพมีขนาดเล็กกว่าแบนเนอร์ก็ไม่ต้องทำอะไร จะแสดงไฟล์รูปภาพที่ต้องการ ให้กดแป้น Ctrl+A แล้วคลิ้กเมนูคำสั่ง Edit > Copy ลงบนรูปภาพที่ต้องการใส่รูปภาพลงบนแบนเนอร์19. แล้วไปยังแบนเนอร์ของเรา โดยการคลิ้กเมนูคำสั่ง Edit > Paste แล้วไปก็อปอีกรูปภาพมาวางลงไป จากนั้นปรับแต่งตำแหน่งรูปภาพตามต้องการ 20. แล้วคลิ้กปุ่ม Edit in ImageReady เพื่อกลับไปสร้างแบนเนอร์ต่อในโปรแกรม Adobe ImageReady CS21. ที่นี้ไปกำหนดการแสดงของภาพในแต่ละเฟรม ซึ่งตอนนี้ทั้ง 3เฟรมจะมีรูปภาพเหมือนกัน22. โดยให้ไปคลิ้กที่เฟรมหมายเลข 1 ต้องการให้แสดงเฉพาะแบ็กกราวนด์ว่างๆ ให้ไปที่พาเนลเลเยอร์ แล้วคลิ้กยกเลิกไอคอน รูปดวงตา หน้ารูปภาพและข้อความออกไปเพื่อยกเลิกการแสดง23. จากนั้นไปยังตำแหน่งเฟรมที่ 2 เพื่อกำหนดให้แสดงข้อความ โดยการไปคลิ้กเลือกที่เฟรม 2กำหนดค่าเฟรมที่ 1กำหนดค่าเฟรมที่ 224. แล้วคลิ้กช่องไอคอนรูปดวงตาในเลเยอร์ข้อความ จะแสดงข้อความในหน้าต่างพรีวิวทันที25. ไปเฟรมที่ 3 เพื่อกำหนดให้แสดงข้อความและรูปภาพ โดยการไปคลิ้กเลือกที่เฟรม 326. แล้วคลิ้กช่องไอคอนรูปดวงตาในเลเยอร์ข้อความและรูปภาพทั้งหมด จะแสดงผลลัพธ์ในหน้าต่างพรีวิวทันทีกำหนดเวลาในการแสดงผลของอนิเมชัน27. จากนั้นกำหนดช่วงเวลาในการแสดงในแต่ละเฟรม โดยการคลิ้กกำหนดเวลาใต้เฟรม จากค่า 0 sec. แล้วเลือกเวลาหน่วงที่ต้องการอาจเป็น 1 sec. โดยต้องกำหนดเวลาให้กับทุกเฟรมอาจเท่ากับ หรือแตกต่างกันก็ได้แล้วแต่ความต้องการ28. จากนั้นทดลองชมแอนิเมชันผ่านทางโปรแกรม ให้คลิ้กปุ่ม Play/stop animation29. หากต้องการให้แอนิเมชันทำงานวนไปเรื่อยให้คลิ้กเลือกที่รายการ Foreverทดลองพรีวิวอนิเมชันผ่าน Internet Explorerหลังจากมีการสร้างแอนิเมชันเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ได้เวลาทดลองดูการทำงานแอนิเมชันบนเว็บ30. เมื่อเปิดแอนิเมชันที่ต้องการขึ้นมา ให้คลิ้กเมนูคำสั่ง File > Preview In > iexplore31. จากนั้นจะแสดงหน้าต่างไออีพร้อมแสดงแอนิเมชัน พร้อมรายละเอียดของไฟล์พร้อมทั้งโค้ดที่ผู้ใช้งานสามารถก็อปไปใช้งานได้ทันทีโดยต้องมีการอ้างถึงรูปภาพด้วย (จากบรรทัด ) พร้อมก็อปไฟล์ต้นฉบับไปวางยังโฟลเดอร์ที่ต้องการเอ็กพอร์ตเป็นไฟล์ Gif Animationเมื่อสร้างชิ้นงานอนิเมชันจนพอใจแล้ว ทดลองดูผลงานแล้วก็ต้องทำการบันทึกออกมาเป็นไฟล์ .GIF เพื่อนำไปใช้งาน32. ไปที่หน้าต่าง Adobe ImageReady CS แล้วคลิ้กแถบ 2-Up เพื่อเปรียบเทียบค่ารูปภาพต้นฉบับกับรูปภาพที่บีบอัดขนาดให้น้อยลง33. สังเกตขนาดไฟล์ที่แตกต่างกัน และจำนวนเวลาหากใช้ความเร็วโมเด็มที่ 28.8 Kbps ผู้ใช้งานสามารถคลิ้กเลือกระดับของโมเด็มเพื่อทดสอบว่าหากผู้เปิดชมใช้โมเด็มความเร็วในระดับต่างๆ จะใช้เวลารอนานเท่าไรถึงจะแสดงแอนิเมชันเลือกแบนเนอร์ตามระดับของโมเด็มที่ต้องการ34. เมื่อได้ขนาดไฟล์ คุณภาพไฟล์ และเวลาที่ต้องการ ให้คลิ้กเลือกแบนเนอร์ที่ต้องการ35. จากนั้นให้คลิ้กเมนูคำสั่ง File > Save Optimized36. จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Save Optimized เพื่อให้พิมพ์ชื่อไฟล์ลงไป แล้วคลิ้กปุ่ม Save คราวนี้ก็สามารถนำไฟล์ gif อนิเมชันไปใช้งานได้ทันทีเอ็กพอร์ตอนิเมชันเป็นไฟล์ Macromedia Flash (SWF)นี่ก็เป็นอีกหนึ่งฟีเจอร์ใหม่ที่เพิ่มขึ้นใน Adobe ImageReady CS โดยเราสามารถทำการเอ็กพอร์ตไฟล์อนิเมชันเป็นไฟล์นามสกุล .swf โดยทำได้ดังนี้ 37. คลิ้กเมนูคำสั่ง File > Export > Macromedia Flash SWFการเอ็กพอร์ตเป็นไฟล์ในรูปแบบ Macromedia Flash38. จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Macromedia Flash (SWF) Export เพื่อให้กำหนดค่าไฟล์ แล้วคลิ้กปุ่ม OK39. จากนั้นจะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Export As Macromedia SWF เพื่อพิมพ์ชื่อไฟล์แล้วคลิ้กปุ่ม Save40. ให้ทดลองไปคลิ้กเปิดไฟล์ที่ได้จากการเอ็กพอร์ต เพื่อทดสอบการทำงานการสร้างอิมเมจแมปการสร้างอิมเมจแมปนั้นปกติจะถูกนำไปใช้งานเว็บเพจ โดยการให้ผู้ใช้งานคลิ้กลงบนไปยังตำแหน่งที่กำหนดเอาไว้ แล้วกระโดดไปยังหน้าเว็บเพจที่ต้องการได้ทันที41. ให้ไปเปิดไฟล์รูปภาพที่ต้องการทำ Image Map ขึ้นมา จากนั้นคลิ้กเลือกเครื่องมือ Rectangle Image Map Toolเลือกตำแหน่งที่ต้องการสร้างเป็นอิมเมจแมป42. แล้วใช้เมาส์ลากลงยังตำแหน่งที่ต้องการให้ผู้ใช้งานคลิ้ก แล้วเปิดเว็บเพจไปยังหน้าที่กำหนดเอาไว้43. ในพาเนล Image Map จะแสดงชื่อเป็น ImageMap_01 ให้กำหนด URL ที่ต้องการให้เปิดเว็บเพจข้อมูล, Target: เป็นการกำหนดการแสดงเพจ, Alt: พิมพ์ข้อความที่ต้องการให้แสดงเมื่อเมาส์ไปวงเหนือรูปภาพ44. ในกรณีที่ต้องการอิมเมจแมปอันถัดไปแต่ต้องการรูปทรงเป็นวงกลม ให้คลิ้กปุ่ม Rectangle Image Map Tool แล้วเลือกไปที่ Circle Image Map Tool45. แล้วใช้เมาส์ลากเพื่อเลือกตำแหน่งที่ต้องการเลือกสร้างอิมเมจแมปเป็นแบบวงกลม46. ในพาเนล Image Map จะแสดงชื่อเป็น ImageMap_02 ให้กำหนด URL ที่ต้องการให้เปิดเว็บเพจข้อมูล, Target: เป็นการกำหนดการแสดงเพจ, Alt: พิมพ์ข้อความที่ต้องการให้แสดงเมื่อเมาส์ไปวงเหนือรูปภาพ47. หากต้องการสร้างอิมเมจแมปอีกก็ให้ทำแบบนี้ไปเรื่อยๆ หากต้องการพรีวิวผ่านไออีให้คลิ้กปุ่มไอคอนไออี บนแถบเครื่องมือ Tool48. โปรแกรมจะสั่งเปิดหน้าต่างอินเทอร์เน็ตเอ็กซ์พลอเรอร์ พร้อมแสดงอิมเมจแมปตำแหน่งใดที่กำหนดไว้ เมื่อนำเมาส์ไปวางเหนือรูปภาพเคอร์เซอร์จะถูกเปลี่ยนเป็นรูปมือทันที การบันทึกไฟล์อิมเมจแมป เมื่อสร้างไฟล์เอกสารที่เป็นอิมเมจแมปเสร็จเรียบร้อยแล้ว เราก็ต้องมาทำการบันทึกเพื่อนนำไฟล์ดังกล่าวไปใช้งาน49. หากต้องการกำหนดค่าเกี่ยวกับ Image Map ให้ไปคลิ้กที่เมนูคำสั่ง File > Output Settings > Image Maps50. จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Output Settings เพื่อให้เลือกรูปแบบ ให้คลิ้กปุ่ม Next เพื่อกำหนดค่าๆ ในหน้าถัดไป51. เมื่อกำหนดค่าเสร็จแล้วให้คลิ้กปุ่ม OK เลือกคุณภาพและขนาดไฟล์ของอิมเมจแมปตามต้องการ52. คลิ้กที่แถบ 4-Up แล้วคลิ้กเลือกไฟล์ที่มีคุณภาพและขนาดไฟล์ที่เหมาะสมต่อการดาวน์โหลดไปใช้งาน53. คลิ้กเมนูคำสั่ง File > Save Optimized As...54. จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Save Optimized As ให้กำหนดชื่อในช่อง File name:, เลือก Save as type: เป็น HTML and Image (*.html) แล้วคลิ้กปุ่ม Saveการหั่นรูปภาพด้วย Slice ในบางครั้งหากต้องนำรูปภาพขนาดใหญ่ขึ้นไปบนหน้าเว็บเพจ แน่นอนว่าต้องใช้เวลาดาวน์โหลดนาน และอาจดดาวน์โหลดไม่ได้ในบางครั้ง หากต้องการให้การดาวน์โหลดใช้เวลาน้อยลง เราก็ต้องนำรูปภาพมาแบ่งออกเป็นส่วนๆใช้เครื่องมือ Slice Tool เพื่อหั่นภาพ55. เปิดไฟล์รูปภาพที่ต้องการขึ้นมา แล้วไปคลิ้กปุ่ม Slice Tool เพื่อเลือกเครื่องมือในการหั่นภาพ56. จากนั้นให้ไปลากลงรูปภาพเพื่อแบ่งรูปภาพออกเป็นส่วนๆ57. หากต้องการจะแบ่งอีกก็สามารถใช้เครื่องมือ ลากแบ่งส่วนตามต้องการ58. จากนั้นทดลองดูไฟล์ที่ได้จากการทำ Slice โดยให้คลิ้กปุ่มไอคอนอินเทอร์เน็ตเอ็กซ์พลอเรอร์บนแถบเครื่องมือ Tool59. จะแสดงหน้าไออีพร้อมแสดงรูปภาพ ทันทีจะพบว่าเมื่อรูปภาพแต่ละส่วนที่ถูกโหลด สุดท้ายก็จะกลายเป็นรูปภาพที่ต้องการการบันทึกไฟล์ Sliceหลังจากสร้างไฟล์รูปภาพที่ถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆอัตโนมัติ เสร็จแล้วก็ทำการบันทึกเพื่อนำมาใช้งานต่อไปเลือกรูปภาพที่ต้องการ60. คลิ้กที่แถบ 4-Up แล้วคลิ้กเลือกไฟล์ที่มีคุณภาพและขนาดไฟล์ที่เหมาะสมต่อการดาวน์โหลดไปใช้งาน 61. แล้วคลิ้กเมนูคำสั่ง File > Save Optimized As... 62. จะแสดงไดอะล็อกบ็อกซ์ Save Optimized As ให้กำหนดชื่อในช่อง File name:, เลือก Save as type: เป็น HTML and Image (*.html) แล้วคลิ้กปุ่ม Save 63. ในโฟลเดอร์ดังกล่าวจะประกอบไปด้วยไฟล์ html และโฟลเดอร์จัดเก็บรูปภาพ จากตัวอย่างการใช้งานโปรแกรม Adobe ImageReady CS จะเห็นแล้วว่า เราสามารถสร้างสรรค์งานออกแบบเว็บเพจได้อย่างง่ายดาย ช่วยอำนวยความสะดวกมากทีเดียว รวมถึงรูปแบบเว็บไซต์ก็จะดูดีและทันสมัยอีกด้วย สำหรับคนที่ใช้โปรแกรมอื่นอยู่ ลองหันมาใช้โปรแกรมนี้รับรองว่าใช้งานได้ไม่ยากและให้ผลลัพธ์ที่น่าทึ่งออกมาอีกด้วย

วันอังคารที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2553

งานชิ้นที่ 6 การสร้างแบนเนอร์

ชื่อวง เสียงอิสาน


ข้อมูล วงหมอลำคณะเสียงอิสานเป็นวงหมอลำที่ได้รับความนิยมมากในภาคอิสาน เป็นวงหมอลำที่มีขนาดใหญ่ นำโดย คุรแม่ นกน้อย อุไรพร นักร้องลุกทุ่งหมอลำชื่อดัง และศิลปิลที่มีชื่อเสียงมากมาย เช่น


ปอยฝ้าย มาลัยพร ยายแหลม ยายจื้น น้องแป้ง พ่อใหญ่ชาลี ลูแพร อุไรพร และหางเครื่องกว่าห้าร้อยชีวิต อลังการงานสร้างด้วย แสง สี เสียง ตระการตา
โรงซ้อมของคณะเสียงอิสาน เป็นโรงเรือนยกเวทีขนาดเท่าเวทีจริง
จากอดีตถึงปัจจุบันวงเสียงอิสานยังได้รับความนิยมจากแฟนคลับตลอดมา โดยเฉพราะกลุ่มผุ้ที่ชื่นชอบในผลงานการแสดง วัฒนะรรมของภาคอิสาน



กลุ่มเป้าหมาย

-บุคคลทั่วไปที่ชื่นชอบการแสดงหมอลำ อายุตั้งแต่21-60ปีขึ้นไป

-ผู้ที่รักความสนุกสนาน เฮฮา ตลกๆ

-ผู้ที่รักความเป็นอิสาน

คอนเสริตร์ วันที่ xx/xx/xxxx

อารมณ์คือ หัวข้อของงานคอนเสริตร์ ตลกๆ กวนๆ

mood& Tone






สื่อไตเต้ลรายการ

ศิลปะในการนำเสนอไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแต่ มุมกล้อง การจัดแสงที่สวยงาม สื่ออารมณ์และความหมาย สื่ออารมณ์และความหมายที่ผู้ผลิตรายการต้องการเท่านั้น

การสร้างสรรค์ผลงาน ( Creative wolk)
หลีกการสร้างสื่อเพื่อการนำเสนอที่ดีตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อไตเติ้ลรายการ
คุณลัษณะต่างๆที่ประกอบกันขึ้นมาเป็นไตเติ้ล ได้แก่
1. รูปแบบการนำเสนอ
2. ลักษณะของภาพ
3. ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง
4. ตัวอักษรชื่อรายการ
5. ลำดับการนำเสนอ
6. การใช้เสียง
7. ความยาว
8. ลีลา
1.รูปแบบการรนำเสนอไตเติ้ลรายการ
1.2 การใช้สัญลักษณ์
1.3 การนำเสนอบุคคล
1.4 การใช้ภาพแสดงเนื้อหา
1.5 การสร้างโครงเรื่อง
2. ลักษณะของภาพไตเติ้ลรายการ
2.1 ชนิดภาพ
2.2 ลำดับภาพ
2.3 การวาดภาพ
หลักการสร้างสื่อเพื่อการนำเสนอที่ดี
3. ทัศนสารที่ใช้สร้างเรื่อง
3.1 พื้นที่
3.2 เส้น เส้นปรากฏในทุกๆส่วนของภาพ เพราะเมื่อมีความแตกต่าง ของความเข้มสีหรือสีต่างกัน เส้นก็ปรากฏ
3.3 รุปร่าง การใช้รูกฃปร่างพื้นฐาน ได้แก่ วงกลม สี่เหลี่ยม
3.4 สีและความเข้มสี
สีแดง แสดงความตื่นเต้นเร้าใจ
สีเหลือง ดูสดใส ศักดิ์สิทธิ์
สีน้ำเงิน หนักแน่น มีราคา
สีฟ้า ให้ความสุขสบาย สดใส
สีเขียว ให้ความรู้สึกสดชื่น
สีม่วง มีเสน่ห์ ลึกลับ
สีชมพู ความอ่อนนุ่ม